วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557

บทที่ 6 Supply chain management


Supply Chain Management การ จัดการกลุ่มของกิจกรรมงาน กลาวคือ ตั้งแต่การรับวัตถุดิบมาจาก Supplies แล้วเปลียนวัตถุดิบนั้ นให้เป็นสินค้าขั้นกลาง และสินค้าขั้ นสุดท้าย จนกระทั่งจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า

สิ่งที่จะทําให้เข้าใจ ถึงหน้าที่ของการผลิตและวิธีการควบคุมการผลิตนั้ น เราจะต้องเข้าใจในสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวในกระบวนการผลิตอยู่ 2 สิ่งหลักๆ คือ
1. วัตถุดิบ (Materials)
2. สารสนเทศ (Information)

รูปแสดงการเคลื่อนไหวของวัตถุดิบและสารสนเทศ ซึ่งมีอยู่ในกระบวนการผลิตทุกแห่ง

ปัญหาคือความสนใจที่แต่กต่างกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น
- ลูกค้ามักต้องการสินค้าที่ถูกต้องสมบูรณ์แบบและมีราคาถูก
- พนักงานในสายการผลิตอยากรู้คําสั่งที่ถูกต้อง
- ฝ่ ายจัดซื้อต้องการได้วัตถุดิบที่ถูกต้อง มีคุณภาพ
- ผู้จําหน่ายวัตถุดิบต้องการคําสั่งซื้ อที่ถูกต้องเพื่อจะได้จัดส่งได้ถูกต้อง
- ผู้จัดการต้องการรายงานที่ถูกต้อง
The benefits of supply chain management


Realization of benefits



ประโยชน์ของการทํา SCM
1. การเคลื่อนไหลของวัตถุดิบและสารสนเทศเป็นไปอย่างราบรื่น
2. ปรับปรุงระดับของสินค้าคงเหลือ
3. เพิ่มความเร็วได้มากขึ้ น
4. ขจัดความสิ้นเปลืองหรือความสูญเปล่าต่างๆ ในกระบวนการทางธุรกิจให้หมดไปได้
5. ลดต้นทุนในกิจกรรมต่างๆ ได้
6. ปรับปรุงการบริการลูกค้า
การบูรณาการในห่วงโซ่อุปทาน LOGO(Supply Chain Integration)
-  การบูรณาการกระบวนการภายในทางธุรกิจให้เป็นแบบไร้รอยตะเข็บ ไร้ความสูญเสีย  
และมีความยืดหยุน ใช้นโยบายการทํางานแบบข้ามสายงาน ลด กระบวนการและ
ขั้ นตอนการทํางานที่ไม่จําเป็น 
-  การบูรณาการกับกระบวนการภายนอก   นั่นคือบูรณาการกับกระบวนการของลูกค้าที่สําคัญและ
ผู้จัดหาวัตถุดิบที่สําคัญให้เข้ากับกระบวนการภายในของบริษัท อย่างมีประสิทธิภาพ 
และไร้รอยตะเข็บซึ่งจะสร้างผลให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อยางยืดหยุ่น
 และ รวดเร็ว ขณะที่ต้นทุนลดตํ่าลง
-  การบูรณาการทางเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ  เพื่อให้การแลกเปลี่ยน
และประสานข้อมูลข่าวสารภายในองค์กรและระหว่างองค์กรเป็นไปอย่าง ถูกต้อง 
รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีที่นิยมใช้กันได้แก่ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 
(E-bussiness) การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Data Interchange-EDI) การส่งจดหมาย
ทางอิเล็กทรอนิกส์(E-Mail) บาร์โค้ด(Bar Code) การชี้บ่งตําแหน่ง
ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ(Radio Frequency IdentificationRFID) อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ซอฟท์แวร์การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning-ERP) เป็นต้น

Value Chain ห่วงโซ่คุณค่า

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น